ภาคจากกิจกรรมการสอบกลางภาคที่ผ่านมาแบบสดๆร้อนๆ ของพวกเรา
20 ม.ค. 2556
14 ม.ค. 2556
สรุปเนื้อหา13-1-55 สมการ2
เนื้อหาที่สอนวันที่ 13 มกราคม 2556
การแก้สมการที่ซับซ้อนมากขึ้น ขอให้นักศึกษาอ่านและสังเกตขั้นตอนการแก้สมการต่อไปนี้
สรุป การแก้สมการในลักษณะนี้ เราต้องกำจัดตัวเลขที่บวก-ลบก่อนแล้วจึง กำจัดตัวเลขคูณ-หาร
นักศึกษาสามารถเข้าไปหาความรู้เพิ่มเติม เรื่องการแก้สมการ ในรูปแบบคลิปวีดิโอได้ที่
http://kruteeworld.siamvip.com/ คณิตศาสตร์ม.ต้น สมการ (คลิป)
และสามารถเข้าดาวน์เอกสารที่ใช้ ได้ที่ หัวข้อ ดาวน์โหลด กศน
กฎการแจงแจงหรือกฎการกระจาย
หน้าตาของกฎนี้คือ a(b + c) = ab + ac
อ่านว่า a คูณวงเล็บ b บวก c เท่ากับ a คูณ b บวก a คูณ c
หมายเหตุ
1. a(b + c) หมายถึง a x (a + b) (เป็นการคูณ)
2. ab = axb (เป็นการคูณ เช่นกัน)
ตัวอย่าง
1. 2(x + 3) = 2x + 6
2. 3(x + 4) = 3x + 12
3. 4(x - 1) = 4x - 4
4. 2(5x - 6) = 10x - 8
5. -3(2x + 4) = -6x -12
6. -4(-x + 7) = 4x - 28
7. -(5x - 4) = -5x + 4
8. -(-7x + 5) = 7x - 5
การแก้สมการที่ซับซ้อนมากขึ้น ขอให้นักศึกษาอ่านและสังเกตขั้นตอนการแก้สมการต่อไปนี้
สรุป การแก้สมการในลักษณะนี้ เราต้องกำจัดตัวเลขที่บวก-ลบก่อนแล้วจึง กำจัดตัวเลขคูณ-หาร
นักศึกษาสามารถเข้าไปหาความรู้เพิ่มเติม เรื่องการแก้สมการ ในรูปแบบคลิปวีดิโอได้ที่
http://kruteeworld.siamvip.com/ คณิตศาสตร์ม.ต้น สมการ (คลิป)
และสามารถเข้าดาวน์เอกสารที่ใช้ ได้ที่ หัวข้อ ดาวน์โหลด กศน
กฎการแจงแจงหรือกฎการกระจาย
หน้าตาของกฎนี้คือ a(b + c) = ab + ac
อ่านว่า a คูณวงเล็บ b บวก c เท่ากับ a คูณ b บวก a คูณ c
หมายเหตุ
1. a(b + c) หมายถึง a x (a + b) (เป็นการคูณ)
2. ab = axb (เป็นการคูณ เช่นกัน)
ตัวอย่าง
1. 2(x + 3) = 2x + 6
2. 3(x + 4) = 3x + 12
3. 4(x - 1) = 4x - 4
4. 2(5x - 6) = 10x - 8
5. -3(2x + 4) = -6x -12
6. -4(-x + 7) = 4x - 28
7. -(5x - 4) = -5x + 4
8. -(-7x + 5) = 7x - 5
11 ม.ค. 2556
คำขวัญวันเด็ก ปี 2556
คำขวัญวันเด็ก ปี 2556
รักวินัย ใฝ่เรียนรู้
เพิ่มพุนปัญญา นำพาไทยสู่อาเซียน
จากท่านนายก ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
รักวินัย ใฝ่เรียนรู้
เพิ่มพุนปัญญา นำพาไทยสู่อาเซียน
จากท่านนายก ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
7 ม.ค. 2556
สรุปเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ 4 - สมการ1
เรื่องของสมการ
สมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ที่มีเครื่องหมาย เท่ากับ ( = ) คั่นอยู่ระหว่าง 2 ข้าง เพื่อแสดงความเท่ากัน
ตัวอย่าง
1) 2 x 5 = 5 + 5 (เป็นสมการ ที่เป็นจริง)
2) 7 + 4 = 2 x 5 +1 (เป็นสมการ ที่เป็นจริง)
3) 19 - 5 = 2 x 7 (เป็นสมการ ที่เป็นจริง)
4) 8 - 4 = 2 + 1 (เป็นสมการ ที่เป็นเท็จ)
5) 9 x 5 = 6 x 9 (เป็นสมการ ที่เป็นเท็จ )
6) 5 + 5 10 (ไม่เป็นสมการ)
7) 2 + 4 > 5 (เป็นอสมการ)
อ่านว่า สองบวกสี่ มากกว่า ห้า
8) 10 < 3 x 5 (เป็นอสมการ)
อ่านว่า สิบ น้อยกว่า สามคูณห้า
9) 2x = 6 (เป็นสมการ ที่มีตัวแปร คือ x )
อ่่านว่า สอง เอ็กซ์ เท่ากับ หก หรือ สองคูณเอกซ์ เท่ากับ หก
10) 3m + 5 = 20 (เป็นสมการ ที่มีตัวแปร คือ m )
อ่่านว่า สามเอ็ม บวก ห้า เท่ากับ ยี่สิบ หรือ สามคูณเอ็ม เท่ากับ ยี่สิบ
การแก้สมการ
การแก้สมการ หมายถึง กระบวนการหาค่าของตัวที่เราไม่ทราบค่า(ตัวแปร) โดยอาศัยหลักของการเท่ากัน
ขอให้สังเกตวิธีการหาแก้สมการต่อไปนี้
ตอนที่ 1 การแก้สมการอย่างง่าย
แนวคิด พยายามทำให้ตัวแปรอยู่ตัวเดียวด้วยวิธีการต่างๆ ต่อไปนี้
ตอนที่ 2 การแก้สมการแบบผสม
แนวคิด กำจัดตัวเลขที่มาบวกหรือละ ก่อนตัวเลขที่คูณหรือหาร
ตัวอย่างโจทย์สมการ
หกเท่าของจำนวน จำนวนหนึ่ง บวกหก เท่ากับ 66 แล้วจำนวนนั้นคือ เท่าไหร่
วิธีทำ ให้จำนวนนั้น คือ x
หาเท่าของจำนวนนั้นคือ 6x (อ่านว่า หกเอ็กซ์ หรือ หกคูณเอ็กซ์)
หกเท่าของจำนวน จำนวนหนึ่ง บวกหก คือ 6x + 6
จะได้สมการคือ
6x + 6 = 66
6x + 6 -6 = 66 - 6
6x = 60
6x/6 = 60/6 (หาร ด้วย 6)
x = 10
จำนวนนั้นคือ 10
สมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ที่มีเครื่องหมาย เท่ากับ ( = ) คั่นอยู่ระหว่าง 2 ข้าง เพื่อแสดงความเท่ากัน
ตัวอย่าง
1) 2 x 5 = 5 + 5 (เป็นสมการ ที่เป็นจริง)
2) 7 + 4 = 2 x 5 +1 (เป็นสมการ ที่เป็นจริง)
3) 19 - 5 = 2 x 7 (เป็นสมการ ที่เป็นจริง)
4) 8 - 4 = 2 + 1 (เป็นสมการ ที่เป็นเท็จ)
5) 9 x 5 = 6 x 9 (เป็นสมการ ที่เป็นเท็จ )
6) 5 + 5 10 (ไม่เป็นสมการ)
7) 2 + 4 > 5 (เป็นอสมการ)
อ่านว่า สองบวกสี่ มากกว่า ห้า
8) 10 < 3 x 5 (เป็นอสมการ)
อ่านว่า สิบ น้อยกว่า สามคูณห้า
9) 2x = 6 (เป็นสมการ ที่มีตัวแปร คือ x )
อ่่านว่า สอง เอ็กซ์ เท่ากับ หก หรือ สองคูณเอกซ์ เท่ากับ หก
10) 3m + 5 = 20 (เป็นสมการ ที่มีตัวแปร คือ m )
อ่่านว่า สามเอ็ม บวก ห้า เท่ากับ ยี่สิบ หรือ สามคูณเอ็ม เท่ากับ ยี่สิบ
การแก้สมการ
การแก้สมการ หมายถึง กระบวนการหาค่าของตัวที่เราไม่ทราบค่า(ตัวแปร) โดยอาศัยหลักของการเท่ากัน
ขอให้สังเกตวิธีการหาแก้สมการต่อไปนี้
ตอนที่ 1 การแก้สมการอย่างง่าย
แนวคิด พยายามทำให้ตัวแปรอยู่ตัวเดียวด้วยวิธีการต่างๆ ต่อไปนี้
ตอนที่ 2 การแก้สมการแบบผสม
แนวคิด กำจัดตัวเลขที่มาบวกหรือละ ก่อนตัวเลขที่คูณหรือหาร
ตัวอย่างโจทย์สมการ
หกเท่าของจำนวน จำนวนหนึ่ง บวกหก เท่ากับ 66 แล้วจำนวนนั้นคือ เท่าไหร่
วิธีทำ ให้จำนวนนั้น คือ x
หาเท่าของจำนวนนั้นคือ 6x (อ่านว่า หกเอ็กซ์ หรือ หกคูณเอ็กซ์)
หกเท่าของจำนวน จำนวนหนึ่ง บวกหก คือ 6x + 6
จะได้สมการคือ
6x + 6 = 66
6x + 6 -6 = 66 - 6
6x = 60
6x/6 = 60/6 (หาร ด้วย 6)
x = 10
จำนวนนั้นคือ 10
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)