27 ส.ค. 2556

เลขยกกำลัง โดยใช้สูตร

ตัวอย่างโจทย์ เรื่องเลขยกกำลัง โดยใช้สูตรลัด
ชุดที่ 1

ชุดที่ 2



26 ส.ค. 2556

โจทย์โจทย์คณิตศาสตร์

ตัวอย่างเพิ่มเติม การคำนวณพื้นฐาน
1. 4 + (5-18) - (- 6) = 4 - 13 + 6 = -9 + 6 = -3
2. 6 – (7- 10) × 4 +11 = 6 -(-3)x4 +10 = 6 + 12 + 10 = 28
3. (45÷3) + 24÷(-2) = 15 – 12 = 3
4. |-3| + |-7| - |-5| = 3 + 7 – 5 = 5
5. |-8-7| + |2 - 5| = |-15| + |-3| = 15 + 3 = 18
6. |7×4 - 40| - |22 + 3×(-8)| = |28 - 40| - |22 - 24| = |-12| - |-2| = 12 – 2 = 10
7. 52 + (-4)2 + (-3)3 = 25 +16 – 27 = 41 – 27 = 14
8. (4 - 11)2 + (3 - 14)2 = (-7)2 + (-11)2 = 49 + 121 = 170
9. 102 - 82 - (-17) = 100 - 64 +17 = 36 - 17 = 19
10. |43 - 92| - |16-(-24)| = |64- 81| - |16+24| = |-17| - |40| = 17 – 40 = -23

รากที่ 2 ชุดที่1

รากที่2 ชุดที่ 2






22 ส.ค. 2556

แนวข้อสอบคณิตศาสตร์-1

แนวข้อสอบ
ข้อให้นักศึกษาอ่านทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา เหล่านี้เพื่อนำไปใช้ในการสอบ
ชุดที่1
1. 4 + (5-18) - (- 6) = 4 - 13 + 6 = -9 + 6 = -3
2. 6 – (7- 10) × 4 +11 = 6 -(-3)x4 +10 = 6 + 12 + 10 = 28
3. (45÷3) + 24÷(-2) = 15 – 12 = 3
4. |-3| + |-7| - |-5| = 3 + 7 – 5 = 5
5. |-8-7| + |2 - 5| = |-15| + |-3| = 15 + 3 = 18
6. |7×4 - 40| - |22 + 3×(-8)| = |28 - 40| - |22 - 24| = |-12| - |-2| = 12 – 2 = 10
7. 52 + (-4)2 + (-3)3 = 25 +16 – 27 = 41 – 27 = 14
8. (4 - 11)2 + (3 - 14)2 = (-7)2 + (-11)2 = 49 + 121 = 170
9. 102 - 82 - (-17) = 100 - 64  +17 = 36 - 17 = 19
10. |43 - 92| - |16-(-24)| = |64- 81| - |16+24| = |-17| - |40| = 17 – 40 = -23

ชุดที่2 
โปรดติดตามต่อไป....

เฉลยข้อสอบกลางภาค











21 ส.ค. 2556

เฉลยใบงาน-การแทนนค่า

การแทนค่า
การแทนค่าของ 1 ตัวแปรและ 2 ตัวแปร

การแทนค่าในสัญลักษณ์ของฟังก์ชั่น


การประยุกต์การแทนค่า ช่วยในการหาคำตอบ



หมายเหตุ นักศึกษาหรือผู้สนใจ ใบงานเรื่องนี้สามารถไปดาวน์โหลดได้ที่
http://www.kruteeworld.com  ที่หัวข้อ ดาวน์โหลด กศน

เฉลยใบงาน-เรื่องรากที่2


ความหมายของรากที่ 2 จะอยู่ในเรื่อง เฉลยใบงานทฤษฎีบทปีทาโกรัส
การบวก-ลบ รากที่2


การถอดรากที่ 2
การคูณรากที่ 2


การหารรากที่ 2

โจทย์ระคนหรือโจทย์ยาก
แนวคิด ใช้กฎการกระจายหรือการแจกแจง คือ x(y + z) = xy + xy มาใช้

หมายเหตุ นักศึกษาหรือผู้สนใจ ใบงานเรื่องนี้สามารถไปดาวน์โหลดได้ที่ 
http://www.kruteeworld.com  ที่หัวข้อ ดาวน์โหลด กศน






เฉลยใบงาน-เศษส่วน2

เฉลยใบงาน-เศษส่วน ชุดที่ 2
การคูณเศษส่วนแบบตัดทอนก่อนไม่ได้

การคูณเศษส่วนแบบตัดทอนก่อนได้


การคูณจำนวนคละ
การหารเศษส่วน
โจทย์ปัญหาเกี่ยวเศษส่วน


หมายเหตุ นักศึกษาหรือผู้สนใจ ใบงานเรื่องนี้สามารถไปดาวน์โหลดได้ที่
http://www.kruteeworld.com  ที่หัวข้อ ดาวน์โหลด กศน



20 ส.ค. 2556

เฉลยใบงาน-ทฤษฎีบทปีทาโกรัส

เฉลยใบงาน-ทฤษฎีบทปีทาโกรัส
พื้นฐานที่ควรทราบ
ความหมายของเลขยกกำลังและการเขียนจำนวนต่างๆให้อยู่ในรูปของเลขยกำลัง
รากที่2 ของจำนวนเต็ม
ความหมายของรากที่ 2


การหาค่าของรากที่ 2 การถอดรากโดยวิธีการดึงตัวซ้ำ

การแก้สมการรากที่ 2 แบบง่าย

โจทย์เกี่ยวรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แก้ปัญหาโดยใช้ทฤษฎีบทปีทากอรัส


โจทย์ปัญหา





13 ส.ค. 2556

คณิตศาสตร์-รูปสี่เหลี่ยม

สรุปเนื้อหาเกี่ยวกับรูปสี่เหลี่ยม
ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม
1. สี่เหลี่ยมที่มีทุกด้านเท่ากันและทุกมุมเป็นมุมฉาก เรียกว่า สี่เหลี่ยมจัตุรัส
2. สี่เหลี่ยมที่มีด้านตรงข้ามเท่ากัน 2 คู่ และทุกมุมเป็นมุมฉาก เรียกว่า สี่เหลี่ยมผืนผ้า
3. สี่เหลี่ยมที่มีทุกด้านเท่ากันและทุกมุมไม่เป็นมุมฉาก เรียกว่า สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
4. สี่เหลี่ยมที่มีด้านตรงข้ามเท่ากัน 2 คู่ และทุกมุมเป็นไม่มุมฉาก เรียกว่า สี่เหลี่ยมด้านขนาน
5. สี่เหลี่ยมที่มีด้านติดกันยาวเท่ากัน 2 คู่ เรียกว่า สี่เหลี่ยมรูปว่าว
6. สี่เหลี่ยมที่มีด้านขนาน 1 คู่ เรียกว่า สีเหลี่ยมคางหมู
7. สีเหลี่ยมที่ไม่มีด้านและมุมใดที่ยาวเท่ากัน เรียกว่า สี่เหลี่ยมด้านไม่เท่าหรือสี่เหลี่ยมใด

เส้นทแยงมุม คือ เส้นที่ลากจากมุมหนึ่งไปยังมุมที่อยู่ตรงข้าม
เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม จะมี 2 เส้น

สูตร
สูตรเส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม = ผลรวมของด้านทั้ง 4
สูตรพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน × ด้าน
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง × ยาว หรือ ฐาน × สูง
พื้นที่รูปสีเหลี่ยมด้านขนาน = ฐาน × สูง
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน และ สี่เหลี่ยมรูปว่าว = (1/2) ×ผลคูณของเส้นทแยงมุม
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมคางหมู  = (1/2) × สูง  x ผลบวกของด้านคู่ขนาน

ตัวอย่างโจทย์
ชุดที่ 1
1. สนามหญ้าแห่งหนึ่งเป็นรูปสี่ผืนผ้า มีความกว้าง 18 เมตรและความยาว 20 เมตร
1.1)  สนามหญ้าแห่งนี้จะมีพื้นที่เท่าไหร่
วิธีทำ  พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง × ยาว = 18 ×20 = 360 ตารางเมตร

1.2) ถ้าฝนวิ่งรอบสนามหญ้าแห่งนี้ทุกวันวันละ 15 รอบ จะได้ระยะทางกี่เมตร
วิธีทำ การหาระยะที่ฝนวิ่งหาได้จาก ความยาวเส้นรอบรูปของสี่เหลี่ยม
เส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม = ผลรวมของด้านทั้ง 4 = 18 + 20 + 18 + 20 = 76 เมตร
ฝนวิ่งวันละ 15 รอบจะได้ระยะทาง = 76 × 15 = 1140  เมตร

2. พื้นห้องแห่งหนึ่งกว้าง 8 เมตร ยาว 10 เมตร ถ้าต้องการปูนกระเบื้องขนาด 50×50 เซนติเมตร
2.1) ต้องใช้กระเบื้องทั้งหมดกี่แผ่น
วิธีทำ  แนวคิด 1 เมตร = 100 เซนติเมตร
ความกว้าง 8 เมตร = 8 ×100 = 800 เซนติเมตร
ความยาว 10 เมตร = 10 ×100 = 1000 เซนติเมตร
พื้นห้องจะมีพื้นที่ = กว้าง×ยาว = 800 × 1000 = 800000 ตารางเซนติเมตร
กระเบื้อง1 แผ่นมีพื้นที่ 50×50 = 2500 ตารางเซนติเมตร
ต้องใช้กระเบื้อง  800000 / 2500 = 320 แผ่น

2.2) ถ้ากระเบื้องแผ่นละ 40 บาทต้องใช้เงินกี่บาท
วิธีทำ ต้องใช้เงิน 320 × 40 = 12800 บาท

ชุดที่ 2
1. สี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่ง มีด้านหนึ่งยาว 7 เซนติเมตร แล้ว
  1.1 จะมีพื้นที่ = ด้าน × ด้าน = 7 × 7 = 49   ตร.ซม.
  1.2 จะมีความยาวเส้นรอบรูป = 4×ด้าน = 4×7 = 28 ซม.

2. สี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่ง มีด้านกว้าง 4 ซม.ความยาว 8 ซม. แล้ว
  2.1 จะมีพื้นที่ = กว้าง × ยาว = 4 × 8 =  32  ตร.ซม.
  2.2 จะมีความยาวเส้นรอบรูป = 2×(กว้าง +ยาว) = 2×(4 + 8) = 2×12 = 24  ซม.

3.  ลูกเต๋าลูกหนึ่ง มีแต่ละด้าน 2 ซม. จะมีพื้นที่ผิวเท่าไหร่
วิธีทำ แต่ละหน้าของลูกเต๋า เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จำนวน 6 รูป
พื้นที่ผิวของลูกเต๋า
= 6 × พื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส
= 6 × 2 × 2
= 24 ตร.ซม.

พื้นห้องกว้าง 6 เมตร ยาว 9 เมตร ถ้าการปูกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีขนาน 30 ซม. ต้องใช้กระเบื้องกี่แผ่น
วิธีทำ เปลี่ยนหน่วยให้เหมือนกันก่อน  (1 เมตร = 100 เซนติเมตร)
ห้องกว้าง 6 เมตร = 6 ×100 = 600 ซม.
ห้องยาว 9 เมตร = 9 ×100 = 900 ซม.
มีพื้นที่ = 600 × 900 = 540000  ตร.ซม.
พื้นที่ของกระเบื้อง = 30 × 30 = 900 ตร.ซม.
ต้องใช้กระเบื้องจำนวน = 540000 / 900 = 600 แผ่น

12 ส.ค. 2556

คณิตศาสตร์-รูปสามเหลี่ยม

สรุปเนื้อหา เกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยม
1. รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านเท่ากัน 2 ด้านเรียกว่า สามเหลี่ยมหน้าจั่ว
2. รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านเท่ากัน 3 ด้านเรียกว่า สามเหลี่ยมด้านเท่า
3. รูปสามเหลี่ยมที่มี 1 มุม เป็นมุมฉาก เรียกว่า สามเหลี่ยมมุมฉาก
4. รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่ง เป็นมุมป้าน เรียกว่า สามเหลี่ยมมุมป้าน
5. สูตรพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม(แบบง่ายๆ) คือ  (1/2) x ฐาน x สูง  โดยที่ 1/2 อ่านว่าเศษ 1 ส่วน 2) 
6. สูตรความยาวรูปของรูปสามเหลี่ยม คือ ผลบวกของความยาวทั้ง 3 ด้าน
7. รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีสูตรเกี่ยวกับความยาวระหว่างด้านทั้ง 3 คือ
     c2 = a2 + b2   โดยที่
   c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก หรือ ด้านที่ยาวที่สุด
   a และ b เป็นความยาวด้านประกอบมุมฉาก หรือด้านสั่นทั้ง 2 
8. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของสามเหลี่ยม เท่ากับ 180 องศา หรือ 2 มุมฉาก (1 มุมฉาก เท่ากับมุม 90 องศา)

ตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยม
1. สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีความยาวด้านทั้ง 3 เป็น 6, 10, 12 เซนติเมตร รูปสามเลี่ยมรูปนี้มีความยาวรอบรูปเท่าไหร่
วิธีทำ ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม
  = ผลบวกของความยาวของด้านทั้ง 3
  = 6 + 10 + 12
  = 28 เซนติเมตร
2. สามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีเส้นรอบรูป เท่ากับ 108 เซนติเมตร แต่ละด้านของรูปสามเหลี่ยมนี้ยาวเท่าไหร่
วิธีทำ ให้แต่ละด้านของรูปสามเหลี่ยมยาว x   เซนติเมตร
 ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม = ผลบวกของความยาวของด้านทั้ง 3
 108 = x + x + x
 108 = 3x
   3x = 108
    x = 108/3
    x = 36
3. สามเหลี่ยมหน้าจั่วรูปหนึ่งมีเส้นรอบรูป เท่ากับ 42 เมตร มีฐานยาว 18 เมตร มีด้านประกอบมยอดยาวด้านละเท่าไหร่
วิธีทำ ให้ด้านประกอบมุมยอด m เมตร
วิธีทำ ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม = ผลบวกของความยาวของด้านทั้ง 3
          42 = 18 + 2m
18 + 2m = 42
        2m = 42 – 18
        2m = 24
          m = 24/2
          m = 12
4. สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีแต่ละด้านยาว  x + 2, x + 7, x – 3 เมตร มีเส้นรอบรูปยาว 39 เมตร
วิธีทำ  ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม = ผลบวกของความยาวของด้านทั้ง 3
(x + 2) + (x + 7) + (x – 3) = 39
       x + 2 + x + 7 + x – 3 = 39
                             3x + 6 = 39
                                   3x = 39 – 6
                                   3x = 33
                                     x = 33 / 3
                                     x = 11

5. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีฐานยาว 14 เซนติเมตร และ สูง 18 เซนติเมตร จะมีพื้นที่เท่าไหร่
วิธีทำ สูตร พื้นที่สามเลี่ยม
= (1/2) × ฐาน × สูง
=  (1/2) × 14 × 18    (ตัดทอน 2 และ 14 ด้วย 2 ก่อน)
= 7 x 18
= 126 ตารางเซนติเมตร

6. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีฐานยาว 22 เซนติเมตร และ สูง 16 เซนติเมตร จะมีพื้นที่เท่าไหร่
วิธีทำ สูตร พื้นที่สามเลี่ยม
= (1/2) × ฐาน × สูง
= (1/2) × 22 × 16    (ตัดทอน 2 และ 16 ด้วย 2 ก่อน)
= 22 x 8
= 176 ตารางเซนติเมตร

7. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีพื้นที่ 40 ตารางเมตร มีความสูง 10 เมตร จะมีฐานยาวเท่าไหร่
วิธีทำ สูตร พื้นที่สามเลี่ยม = (1/2) × ฐาน × สูง
แทนค่า
             40 = (1/2) × ฐาน × 10
             80 = ฐาน × 10    (ย้าย 2 ขึ้นไปคูณกับ 40 ก่อน)
  ฐาน × 10 = 80
          ฐาน = 80 / 10
          ฐาน = 8  เมตร

8. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีพื้นที่ 120 ตารางเมตร มีฐานยาว 30 เมตร จะมีความสูงเท่าไหร่
วิธีทำ สูตร พื้นที่สามเลี่ยม = (1/2) × ฐาน × สูง
แทนค่า
120 = (1/2) × 30 × สูง
120 = 15 × สูง   (ตัดทอน 2 และ 30 ด้วย 2 ก่อน)
15 × สูง = 120
สูง = 120 / 15
สูง = 8  เมตร

9. สามเหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่ง มีด้านประกอบมุมฉากยาว 9 และ 12 จะมีด้านด้านประกอบมุมฉากยาวเท่าไหร่
วิธีทำ จากทฤษฎีบทปีทาโกรัส จะได้ว่า
c2 = a2 + b2
c2 = 92 + 122
c2 = 81 + 144
c2 = 225
c = 15

10. สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีมุมขนาดมุมภายในเป็น x + 15 , x + 25 และ  2x ตามลำดับ มุมที่ใหญ่ที่สุดมีขนาดกี่องศา
วิธีทำ  มุมภายในของรูปสามเหลี่ยม = 180
แทนค่า
 (x + 15) + (x + 25) + 2x = 180
      x + 15 + x + 25 + 2x = 180
                          4x + 40 = 180
                                  4x = 180 - 40
                                  4x = 140
                                    x = 140 / 4
                                    x = 35
ดังนั้นแต่ละด้าน มีขนาด
x + 15 = 35 + 15 = 50
x + 25 = 35 + 25 = 60
2x = 2 x 35 = 70
มุมที่ใหญ่ที่สุดมีขนาด 70 องศา

อาเซียนศึกษา-เติมคำ

1. อาเซียน มีชื่อเต็มว่า สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
ASEAN ย่อมาจากคำว่า Association of South East Asian Nations
2. สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รวงข้าว 10 รวง หมายถึง ประเทศ 10 ประเทศในกลุ่มอาเซียน
3. บุคคลของไทยที่ร่วมก่อตั้งอาเซียนในสมัยแรกคือ พันเอก(พิเศษ) ถนัด คอมันต์
4. การประชุมประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน เรียกว่า การประชุมสุดยอดอาเซียน (ตามหนังสือแบบเรียน) หรือ การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน
5. ประเทศสมาชิกในอาเซียน มี 10 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย  ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไรดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา (ตามลำดับของหนังสือแบบเรียน)
6. เพลงประจำว่าอาเซียมีชื่อว่า The ASEAN Way
7. คำขวัญของอาเซียนคือ หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม (One Vision, One Identity, One Community)
8. สีในธงอาเซียน มีความหมายดังนี้
  สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
  สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
  สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
  สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
8. เลขาธิการสมาคมอาเซียน อยู่ในวาระครั้งละ 5 ปี
9. AFTA ย่อมาจากคำว่า ASEAN Free Trade Area เรียกว่า เขตการค้าเสรีเอเซียน
10. ประเทศสุดท้ายที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกของอาเซียน คือ กัมพูชา
11. เสา 3 หลัก ของประคมอาเซียน (ASEAN Community) ประกอบด้วย
  ประชาคมความมั่นคงเอเซียน (ASC)
  ประชาคมเศรษฐกิจเอเซียน (AEC)
  ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมเอเซียน (ASCC)
12. กฎบัตรอาเซียน เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่ทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน
13. วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน คือ ทำให้อาเซียนเป็นองค์ที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลางและเคารพกฎหมายกฎกติกา ทำให้อาเซียนมีสถานะนิติบุคคลแก่อาเซียนเป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล (intergovernment organization)

รายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ n-net

รายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์เข้าสอบ N-Net ระดับมัธยมต้น
1. มธุริน จิรชัยฐิติ เลขที่นั่งสอบ 10001700
2. ชัยวัฒน์ วิจิตรพิเชียรกุล เลขที่นั่งสอบ10001655
3. วีระยุทธ โพธิ์สา เลขที่นั่งสอบ10001720
4. เกรียงไกร สายสกล เลขที่นั่งสอบ 10001639
5. ประกายแก้ว คำสุข เลขที่นั่งสอบ 10001686
6. แสงเดือน สอนบัว เลขที่นั่งสอบ10001750
7. กฤษณะ ดอกชะเอม เลขที่นั่งสอบ 10001633
8. อภัสรา ศรีคำมา เลขที่นั่งสอบ 10001752
9. สิรินญากร คงโพชา เลขที่นั่งสอบ 10001737

รายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์เข้าสอบ N-Net ระดับมัธยมต้น
10. สายสุนีย์ โสภาพันธ์ เลขที่นั่งสอบ 10002079
11. โสมพรรณ เกษนอก เลขที่นั่งสอบ 10002096
12. พัชรี ปินะกาเส เลขที่นั่งสอบ 10002034
13. ภูมิศักดิ์ มณีรัตน์ เลขที่นั่งสอบ10002045
14. อรอนงค์ วาริน เลขที่นั่งสอบ 10002103
15. ธเนศ ศิริยามัน เลขที่นั่งสอบ10002006
16. ครรชิต ปินะถา เลขที่นั่งสอบ 10001973
17. ณัฐพงษ์ ทรัพย์สูงเนิน เลขที่นั่งสอบ 10001995
18. พิษณุ เอี่ยมพรเจริญ เลขที่นั่งสอบ 10002039

7 ส.ค. 2556

รายชื่อผู้จบและ มส.



รายชื่่อผู้จบ ระดับมัธยมต้น
1. นายชัยวัฒน์  วิจิตรพิเชียรกุล  ได้กพช. 30 ชม. ขาด  70  ชม.
2. นายวีระยุทธ  โพธิ์สา   ได้กพช. 70 ชม. ขาด  30  ชม.
3. นายเกรียงไกร  สายสกล  ได้กพช. 50 ชม. ขาด  50  ชม.
4. น.ส.ประกายแก้ว  คำสุข  ได้กพช. 100 ชม. ขาด  -  ชม.
5. น.ส.แสงเดือน  สอนบัว  ได้กพช. 100 ชม. ขาด  -  ชม.
6. นายกฤษณะ   ดอกชะเอม  ได้กพช. 100 ชม. ขาด  -  ชม.
7. น.ส.อภัสรา ศรีคำมา  ได้กพช. 70 ชม. ขาด  30  ชม.  70  30
8. น.ส.สิรินญากร   คงโพชา  ได้กพช. 70 ชม. ขาด  30  ชม.  ขอพักการเรียน

รายชื่่อผู้จบ ระดับมัธยมปลาย
1. นายพิทวัส   บุญธรรม   ได้กพช. 30 ชม. ขาด  70  ชม.
2. น.ส.สายสุนีย์    โสภาพันธ์  ได้กพช. 30 ชม. ขาด  70  ชม.
3. นางโสมพรรณ    เกษนอก  ได้กพช. 30 ชม. ขาด  70  ชม.
4. น.ส.พัชรี    ปินะกาเส  ได้กพช. 30 ชม. ขาด  70  ชม.
5. นายภูมิศักดิ์   มณีรัตน์ ได้กพช. 60 ชม. ขาด  70  ชม.
6. น.ส.อรอนงค์   วาริน   ได้กพช. 60 ชม. ขาด  40  ชม.  
7. นายธเนศ    ศิริยามัน ได้กพช. 40 ชม. ขาด  60  ชม.
8. นายครรชิต    ปินะถา  ได้กพช. 40 ชม. ขาด  60  ชม.
9. นายณัฐพงษ์   ทรัพย์สูงเนิน ได้กพช. 100 ชม. ขาด - ชม.
10. นายพิษณุ   เอี่ยมพรเจริญ  ได้กพช. - ชม. ขาด  100  ชม.

ผู้ที่มีรายชื่อหมดสิทธิ์สอบ ขอให้รีบติดต่อกับ อาจารย์อิงอร ด่วน
รายชื่่อผู้ที่หมดสิทธิ์สอบ  มัธยมต้น
1. นายชัยวัฒน์  วิจิตรพิเชียรกุล  ขาดเรียน 8 ครั้ง
2. นายวีระยุทธ  โพธิ์สา   ขาดเรียน 6 ครั้ง
3. นายเกรียงไกร  สายสกล  ขาดเรียน 8 ครั้ง
4. นายนิพนธ์     รัตนกสิกร  ขาดเรียน 10 ครั้ง
5. น.ส.ภัทรมน     โตเจริญ   ขาดเรียน 5 ครั้ง
6. น.ส.สุภาพร    ทรงกำพล   ขาดเรียน 8 ครั้ง
7. นายนันทวัฒน์   เอี่ยมสิน   ขาดเรียน 7 ครั้ง
8. นายฉัตรชัย นวลวิลัย   ขาดเรียน 6 ครั้ง
9. นายชาคริต    เนียมประพันธ์  ขาดเรียน 10 ครั้ง
10. น.ส.ชุติกาญจน์   วังเกล็ดแก้ว  ขาดเรียน 10 ครั้ง
11. นายเอกพันธ์     สำเภาทอง  ขาดเรียน 7 ครั้ง
12. นายณัฐวุฒิ    รุ่งเกรียงสิทธิ์   ขาดเรียน 10 ครั้ง
13. น.ส.สิรินญากร   คงโพชา  ขาดเรียน 10 ครั้ง  ขอพักการเรียน
14. นายธวัชชัย    สุวะเสน  ขาดเรียน 5 ครั้ง
15. นายสุรศักดิ์     โทนศิริ   ขาดเรียน 10 ครั้ง
16. นายวัชพล    สีมืด   ขาดเรียน 9 ครั้ง
17. นายวรวุฒิ    ศรีชาติ   ขาดเรียน 9 ครั้ง
18. นางสาวชนัดดา  พิริยะขจร  ขาดเรียน 4 ครั้ง

รายชื่่อผู้หมดสิทธิ์สอบ  มัธยมปลาย
1. นางปฤษณา    ใจศิริ  ขาดเรียน 10 ครั้ง
2. นายภูมิศักดิ์   มณีรัตน์  ขาดเรียน 8 ครั้ง
3. นายธเนศ    ศิริยามัน ขาดเรียน 6 ครั้ง
4. นางสาวภคมน  ชังลี  ขาดเรียน 6 ครั้ง
5. นายพิษณุ   เอี่ยมพรเจริญ  ขาดเรียน 10 ครั้ง
6. นายณัฐวัชต์   พิทักษ์นาคราช  ขาดเรียน 4 ครั้ง
7. น.ส.เบญจพร   โพติยะ   ขาดเรียน 4 ครั้ง
8. น.ส.วรรณิดา   ภูทองสุข   ขาดเรียน 4 ครั้ง
9. นายปริญญา   เบ็ญจาทิกุล  ขาดเรียน 4 ครั้ง
10. นายสุรพล    ศรีเรือง  ขาดเรียน 4 ครั้ง
11. นายรัฐพงศ์   ชังลี  ขาดเรียน 6 ครั้ง
12. นายณัฐวุฒิ   ศรีหนองห้าง  ขาดเรียน 10 ครั้ง   ไปเรียน ม. สยาม